งานชิ้นที่ 6



งานชิ้นที่ 6

การวิเคราะห์หลักสูตรแลจัดทำหน่วยการเรียนรู้
 
ตัวชี้วัดผลคะแนนการประเมิน  ปีการศึกษา  2554
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เวลา 1 ปีการศึกษา  2554

ข้อที่
ตัวชี้วัดชั้นปี
ระหว่างเรียน
 กลางภาค 1
กลางปี
กลางภาค 2
รวมระหว่าง
ปลายปี
คะแนนเต็ม
เกณฑ์การผ่าน
หมายเหตุ
1
เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงปริมาณของสิ่งของหรือจำนวนนับที่ไม่เกิน หนึ่งแสนและศูนย์ (มฐ.ค  1.1 ป.3/1)
2
3
-
-
5
-
5
2.5
T.1
2
เปรียบเทียบ เรียงลำดับ จำนวนนับที่ไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์ (มฐ.ค  1.1 ป.3/1)
2
3
-
-
5
-
5
2.5
T.1
3
บวก ลบ คูน หาร และบวก ลบ คูน หาร ระคนของจำนวนนับที่ไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์พร้อมตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ (มฐ.ค  1.2 ป.3/1)
3/1
3
3
-
10
2
12
6
T.1
4
วิเคราะห์และหาคำตอบของโจทย์ปัญหาและโจทย์ปัญหาระคนของจำนวนนับที่ไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์พร้อมตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ (มฐ.ค  1.2 ป.3/2)
3/1
4
3
-
11
1
12
6
T.1
5
บอกความยาวเป็นเมตร และเซนติเมตร และมิลลิเมตรเลือกเครื่องวัดที่เหมาะสมและเปรียบเทียบความยาว (มฐ.ค  2.1 ป.3/1)
1
-
-
3
4
-
4
2
T.2
6
บอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัม กรัม และขีด เลือกเครื่องชั่งที่เหมาะสมและเปรียบเทียบน้ำหนัก (มฐ.ค  2.1 ป.3/2)
2
-
-
3
5
-
5
2.5
T.2
7
บอกปริมาตรความจุเป็นลิตร มิลลิลิตร เลือกเครื่องตวงที่เหมาะสมและเปรียบเทียบปริมาตรความจุในหน่วยเดียวกัน (มฐ.ค  2.1 ป.3/3)
2
-
-
3
5
-
5
2.5
T.2
8
บอกเวลาบนหน้าปัดนาฬิกา (ช่วง 5 นาที) อ่านและเขียนบอกเวลาโดยใช้จุด (มฐ.ค  2.1 ป.3/4)
1
-
-
-
1
1
2
1
T.2
9
บอกความสัมพันธ์ของหน่วยการวัดความยาว น้ำหนัก และเวลา (มฐ.ค  2.1 ป.3/5)
2
-
-
-
3
1
4
2
T.2
10
อ่านและเขียน จำนวนเงินโดยใช้จุด (มฐ.ค  2.1 ป.3/6)
1
-
-
3
4
 
4
2
T.2
11
แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัดความยาว การชั่ง การตวง เงิน และเวลา (มฐ.ค  2.2 ป.3/1)
2
-
-
3
5
 
5
2.5
T.2
12
อ่านและเขียน บันทึกรายรับ รายจ่าย (มฐ.ค. 2.2 ป.3/2)
2
-
-
-
2
2
4
2
T.2
13
อ่านและเขียนบันทึกกิจกรรมหรือเหตุการณ์ที่ระบุเวลา  
   (มฐ.ค  2.3 ป.3/3)
1
-
-
-
1
2
3
1.5
T.2
14
บอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติที่เป็นส่วนประกอบของสิ่งของที่มีลักษณะเป็นรูปเรขาคณิตสามมิติ (มฐ.ค  3.1 ป.3/1)
1
-
-
-
1
2
3
1.5
T.2

 

 

ข้อที่
ตัวชี้วัดชั้นปี
ระหว่างเรียน
กลางภาค 1
กลางปี
กลางภาค 2
รวมระหว่าง
ปลายปี
คะแนนเต็ม
เกณฑ์การผ่าน
หมายเหตุ
15
ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกนสมมาตรจากรูปที่กำหนดให้ (มฐ.ค  3.1 ป.3/2)
2
-
2
-
3
-
3
1.5
T.1
16
เขียนชื่อจุด เส้นตรง รังสี ส่วนของเส้นตรง มุม และเขียนสัญลักษณ์ (มฐ.ค  3.1 ป.3/3)
2
-
3
-
5
-
5
2.5
T.1
17
เขียนรูปเรขาคณิตสองมิติที่กำหนดในแบบต่างๆ
(มฐ.ค  3.2 ป.3/1)
1
-
2
-
3
-
3
1.5
T.1
18
บอกรูปเรขาคณิตต่างๆ ที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมรอบตัว
(มฐ.ค  3.2 ป.3/2)
1
-
-
-
1
-
1
0.5
T.1
19
บอกจำนวน และความสัมพันธ์ในรูปแบบของจำนวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 25 ทีละ 50 และลดลงทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 25 ทีละ 50 และรูปแบบซ้ำ (มฐ.ค  4.1 ป.3/1)
2
2
-
-
4
4
-
2
T.1
20
บอกรูปและความสัมพันธ์ในรูปแบบของรูปที่มีรูปร่าง ขนาดหรือสี ที่สัมพันธ์กันสองลักษณะ (มฐ.ค  4.1 ป.3/2)
2
-
2
-
3
-
3
1.5
T.1
21
รวบรวมและจำแนกข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน (มฐ.ค  5.1 ป.3/1)
1
-
-
-
2
2
4
2
T.2
22
อ่านข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพและแผนภูมิแท่งอย่างง่าย (มฐ.ค  5.1 ป.3/2)
2
-
-
-
2
2
4
2
T.2
 
ใช้วิธีที่หลากหลายในการแก้ปัญหา (มฐ. 6 ค. 6.1   ป.3/1)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
 
ใช้ความรู้ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
(มฐ. 6 ค. 6.1   ป.3/2)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
 
ใช้เหตุผลประกอบในการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม (มฐ. 6 ค. 6.1   ป.3/3)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
 
ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ในทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
(มฐ. 6 ค. 6.1   ป.3/4)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
 
เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในทางคณิตศาสตร์ เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ ได้ (มฐ. 6 ค. 6.1   ป.3/5)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
 
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (มฐ. 6 ค. 6.1   ป.3/6)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
รวม
40
15
15
15
85
15
100
50
-

 

กำหนดการสอน
รายวิชาคณิตศาสตร์  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ปีการศึกษา 2555      เวลาเรียน  200 คาบ/ปี

หน่วยที่
เรื่อง
จำนวนคาบ
1
จำนวนนับไม่เกิน 100,000
18
2
การบวก
13
3
การลบ
12
4
การวิเคราะห์และการนำเสนอข้อมูล
11
5
การวัด
14
6
เวลา
14
7
การชั่ง
14
8
การตวง
13
9
การคูณ
20
10
การหาร
20
11
เงิน
12
12
รูปเรขาคณิต
17
13
แบบรูปและความสัมพันธ์
12
14
การบวก ลบ คูณ หารระคน
10
รวม
200

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 




หน่วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
รายวิชาคณิตศาสตร์  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3  
ปีการศึกษา 2555      เวลาเรียน  200 คาบ/ปี

หน่วย
การเรียนรู้
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
จำนวน
(คาบ)
หน่วยที่ 1 จำนวนนับไม่เกิน 100,000
(18 คาบ)
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่1  การอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน 10,000
1
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่2  การอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงแสดง จำนวนนับไม่เกิน 100,000
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่3  ค่าประจำหลักและค่าของเลขโดดตามค่าประจำหลัก
3
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่4  การเขียนตัวเลขแทนจำนวนไม่เกินห้าหลักในรูปกระจาย
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่5  การเปรียบเทียบจำนวนที่มีจำนวนหลักไม่เท่ากัน
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่6  การเปรียบเทียบจำนวนที่มีจำนวนหลักเท่ากัน
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่7  การเรียงลำดับจำนวนที่มีจำนวนหลักไม่เท่ากัน
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่8  การเรียงลำดับจำนวนที่มีจำนวนหลักเท่ากัน
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่9  แบบรูปและความสัมพันธ์ของจำนวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 5ทีละ 25 และทีละ 50
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่10  แบบรูปและความสัมพันธ์ของจำนวนที่ลดลงทีละ 3 ทีละ 4  ทีละ 5 ทีละ 25  และทีละ 50
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่11  ทบทวน/ทดสอบ
3
 
หน่วยที่ 2
การบวก
(14 คาบ)
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่1  การบวกจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 10,000 และไม่มีทด
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่2  การบวกจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 10,000 และมีทด
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่3  การบวกจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100,000 และไม่มีทด
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่4  การบวกจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100,000 และมีทด
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่5  การบวกจำนวนสามจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100,000 และมีทด
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่6  สมบัติการสลับที่ของการบวก
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่7  สมบัติการเปลี่ยนหมู่ของการบวก
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่8  โจทย์ปัญหาการบวก
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่9  การสร้างโจทย์ปัญหาการบวก
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่10  ทบทวน/ทดสอบ
3
 
หน่วยที่ 3
การลบ
(12 คาบ)
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่1  การลบจำนวนที่มีตัวตั้งไม่เกิน 10,000 และไม่มีการกระจาย
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่2  การลบจำนวนที่มีตัวตั้งไม่เกิน 100,000 และไม่มีการกระจาย
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่3  การลบจำนวนที่มีตัวตั้งไม่เกิน 10,000 และมีการกระจาย
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่4  การลบจำนวนที่มีตัวตั้งไม่เกิน 100,000 และมีการกระจาย
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่5  ความสัมพันธ์ระหว่างการบวกและการลบ
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่6  โจทย์ปัญหาการลบ
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่7  การสร้างโจทย์ปัญหาการลบ
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่8  ทบทวน/ทดสอบ
3
 
หน่วยที่ 4
การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล
 (11 คาบ)
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่1  การเก็บรวบรวม จำแนก และจัดประเภทของข้อมูล
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่2  การนำเสนอด้วยตาราง
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่3  แผนภูมิรูปภาพ
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่4  แผนภูมิแท่ง
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่5  ทบทวน/ทดสอบ
3
 
หน่วยที่ 5
การวัด
(14 คาบ)
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่1  เครื่องมือที่ใช้วัดความยาว
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่2  วิธีการวัดความยาว ความสูงและระยะทาง
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่3  การเลือกเครื่องมือและหน่วยวัดความยาวที่เหมาะสม
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่4  ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยการวัดความยาว
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่5  การเปรียบเทียบความยาว  ความสูงและระยะทาง
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่6  การคาดคะเนความยาว  ความสูงและระยะทาง
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่7  โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว  ความสูงและระยะทาง
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่8  ทบทวน/ทดสอบ
3
 
หน่วยที่ 6
เวลา
(14 คาบ)
 
 
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่1  การบอกเวลา
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่2  การเขียนบอกเวลาโดยใช้จุดและการอ่าน
3
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่3  ความสัมพันธ์ของหน่วยเวลา
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่4  โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา
2
 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่5  การอ่านและการเขียนบันทึกกิจกรรมหรือเหตุการณ์ต่างๆ ที่ระบุเวลา
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่6  ทบทวน/ทดสอบ
3
 
หน่วยที่ 7
การชั่ง
(14 คาบ)
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่1  เครื่องมือที่ใช้ชั่ง
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่2  การชั่งน้ำหนักเป็นกิโลกรัม  กรัม  ขีด
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่3  การเลือกเครื่องชั่งและหน่วยการชั่งที่เหมาะสม
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่4  ความสัมพันธ์ของหน่วยการชั่ง
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่5  การเปรียบเทียบน้ำหนัก
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่6  การคาดคะเนน้ำหนัก
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่7  โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการชั่ง 
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่8  ทบทวน/ทดสอบ
3
หน่วยที่ 8
การตวง
(13 คาบ)
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่1  เครื่องมือที่ใช้ตวง
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่2  การตวงเป็นลิตร  มิลลิลิตร
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่3  การเลือกเครื่องตวงและหน่วยการตวงที่เหมาะสม
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่4  การเปรียบเทียบปริมาตรและความจุ
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่5  การคาดคะเนปริมาตรของสิ่งของ
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่6  การคาดคะเนความจุของภาชนะ
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่7  โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการตวง
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่8  ทบทวน/ทดสอบ
3
 
หน่วยที่ 9
การคูณ
(20 คาบ)
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่1  ความหมายของการคูณ
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่2  การสลับที่ของการคูณ
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่3  การเปลี่ยนหมู่ของการคูณ
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่4  ศูนย์กับการคูณ และหนึ่งกับการคูณ
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่5  การคูณจำนวนหนึ่งหลักด้วย 10
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่6  การคูณจำนวนหนึ่งหลักกับจำนวนสองหลัก
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่7  การคูณจำนวนหนึ่งหลักกับจำนวนเต็มร้อยและการคูณจำนวนหนึ่งหลักกับจำนวนเต็มพัน
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่8  การคูณจำนวนหนึ่งหลักกับจำนวนไม่เกินสี่หลัก
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่9  การคูณจำนวนสองหลักกับจำนวนสองหลัก  
3
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่10  โจทย์ปัญหาการคูณ
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่11  การสร้างโจทย์ปัญหาการคูณ
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่12  ทบทวน/ทดสอบ
3
 
หน่วยที่ 10
การหาร
(20 คาบ)
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่1  ความหมายของการหาร
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่2  การหารที่ตัวตั้งเป็นจำนวนไม่เกินสองหลักและตัวหารเป็นจำนวนหนึ่งหลัก
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่3  ความสัมพันธ์ระหว่างการคูณและการหาร
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่4  การหารตัวตั้งมีสามหลักและตัวหารมีหนึ่งหลัก
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่5  การหารที่ตัวตั้งมีสี่หลักและตัวหารมีหนึ่งหลัก
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่6  การหารไม่ลงตัว: การหารที่ตัวตั้งมีสองหลัก ตัวหารมีหนึ่งหลัก
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่7  การหารไม่ลงตัว: การหารที่ตัวตั้งไม่เกินสี่หลัก ตัวหารมีหนึ่งหลัก
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่8  โจทย์ปัญหาการหาร
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่9  การสร้างโจทย์ปัญหาการหาร
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่10  ทบทวน/ทดสอบ
3
 
หน่วยที่ 11
เงิน
(12 คาบ)
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่1  เงินเหรียญและธนบัตรชนิดต่างๆ
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่2  การเขียนจำนวนเงินโดยใช้จุดและการอ่าน
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่3  บาทกับสตางค์
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่4  การเปรียบเทียบจำนวนเงิน
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่5  โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่6  การอ่านและการเขียนบันทึกรายรับ และรายจ่าย
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่7  ทบทวน/ทดสอบ
3
 
หน่วยที่ 12
รูปเรขาคณิต(16 คาบ)
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่1  จุด  เส้นตรง รังสี  ส่วนของเส้นตรง  จุดตัด มุมและสัญลักษณ์
4
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่2  รูปเรขาคณิตสองมิติ
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่3  การเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติ
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่4  สมบัติพื้นฐานของรูปเรขาคณิตสองมิติ
1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่5  รูปที่มีแกนสมมาตร
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่6  รูปเรขาคณิตสามมิติ
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่7  รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติ
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่8  ทบทวน/ทดสอบ
3
 
หน่วยที่ 13
แบบรูปและความสัมพันธ์
(12 คาบ)
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่1  แบบรูปและความสัมพันธ์ของจำนวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 5ทีละ 25 และทีละ 50  
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่2  แบบรูปและความสัมพันธ์ของจำนวนที่ลดลงทีละ 3 ทีละ 4  ทีละ 5 ทีละ 25  และทีละ 50
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่3  แบบรูปซ้ำ
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่4  แบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง  ขนาด  หรือสีที่สัมพันธ์กันสองลักษณะ
3
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่5  ทบทวน/ทดสอบ
3
 
หน่วยที่ 14
การบวก ลบ คูณ หารระคน
 (10 คาบ)
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่1  การบวก ลบ คูณ หารระคน
3
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่2  โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่3  การสร้างโจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน
2
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่4  ทบทวน/ทดสอบ
3
 
รวม
200

 






















































































































 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 










 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 






แผนการจัดการเรียนรู้
                     แผนการจัดการเรียนรู้ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ได้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้จำนวน 6 หน่วย ได้แก่  จำนวนนับไม่เกิน 100,000   การบวก  การลบ  การคูณ  รูปเรขาคณิต    แบบรูปและความสัมพันธ์ ซึ่งในแต่ละแผนจะมีการบันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อยู่ด้วย


 



 

บันทึกสังเกตการสอน

ครั้งที่ 1
ชื่อผู้สอน  นางสาววิภาวดี  ชูทอง     ชั้น  ป. 4EP
ชื่อหน่วยการเรียนรู้  การเขียนบรรยายใต้ภาพ     เรื่อง การสรุปใจความสำคัญ    จำนวน  1  คาบ
วันที่  11  เดือน  กรกฎาคม  ..  2555
ประเด็นที่สังเกต
                1.  การนำเข้าสู่บทเรียน
                นำเข้าสู่บทเรียนโดยการสนทนากับนักเรียนเรื่อง การสรุปใจความสำคัญ และการเขียนบรรยายใต้ภาพ  ด้วยการแจกเอกสาร เรื่อง ใครพูดก่อนปิดประตู    
                2.  การดำเนินการสอน
                ให้นักเรียนดูภาพเหตุการณ์ต่างๆจำนวน 5 ภาพ ร่วมกันบรรยายเหตุการณ์ใต้ภาพและสรุปข้อคิดจากการอ่าน
                3.  การใช้สื่อการสอน
                แบบฝึกทักษะ  ใบกิจกรรม และภาพเหตุการณ์ต่างๆ
  4.  การใช้และเขียนกระดานดำ
                เขียนเป็นระเบียบ  ตัวอักษรขนาดพอดี ไม่เล็กหรือใหญ่จนเกินไป อ่านง่าย
                5.  การใช้ภาษาและคำถาม
                มีการใช้ภาษาที่สุภาพ พูดเสียงดังฟังชัด และมีการใช้คำถามกระตุ้นความคิด เช่น ภาพนี้น่าจะบรรยายได้อย่างไรคะ   เรื่องนี้ให้ข้อคิดอะไรบ้างคะ
                6.   การสรุปบทเรียน
                ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียนจากการจัดกิจกรรมและใบกิจกรรม
               7 .  ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
                ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ มีการสนทนา ถาม-ตอบ นักเรียนให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมเป็นอย่างดี
                8.  จุดเด่นของการสอน
                มีสื่อ อุปกรณ์พร้อม   นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรม  นักเรียนเกิดความสนุกสนาน    
  9.  จุดที่ควรปรับปรุง
               การควบคุมชั้นเรียน   การใช้คำพูด เช่น เอ่อ อ่า
                10.  ข้อเสนอแนะที่มีต่อผู้สอนเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา
                การควบคุมชั้นเรียน  และควรเพิ่มการอบรมมารยาทของนักเรียนในการทำกิจกรรม ควรลดการใช้คำพูด  เอ่อ อ่า

 

ครั้งที่ 2

ชื่อผู้สอน  นางสาวซารีฮะ  บินเงาะ    ชั้น  ป. 1/3
ชื่อหน่วยการเรียนรู้  การบวกจำนวนนับไม่เกิน 100  เรื่อง การบวกจำนวนนับไม่เกิน 100  จำนวน  1  คาบ
วันที่  23  เดือน  กรกฎาคม  ..  2555
ประเด็นที่สังเกต
               1.  การนำเข้าสู่บทเรียน
                นำเข้าสู่บทเรียนโดยการสนทนากับนักเรียนเรื่อง การใช้ชีวิตประจำวัน การใช้เงินเพื่อซื้อสินค้าต่างๆ
                2.  การดำเนินการสอน
                สอนเนื้อหาเรื่องการบวกจำนวนนับไม่เกิน 100 โดยการยกตัวอย่างให้ดูบนกระดาน  จากนั้นแจกบัตรตัวเลขให้นักเรียนคนละ 1 ชุด ครูนำบัตรตัวเลข 2 จำนวนมาวางในกระเป๋าผนังโดยมีเครื่องหมายบวกขั้นกลาง 7 + 9 = ____  แล้วนำบัตรตัวเลขที่ครูให้ไว้ ที่เป็นคำตอบที่ถูกต้องมาวางบนโต๊ะ
                3.  การใช้สื่อการสอน
                     - บัตรตัวเลข  
                     - กระเป๋าผนัง
4.  การใช้และเขียนกระดานดำ
                เขียนกระดานอ่านง่าย ชัดเจน
                5.  การใช้ภาษาและคำถาม
                มีการใช้ภาษาที่สุภาพ พูดเสียงค่อนข้างเบา  มีการใช้คำถามกระตุ้นความคิดอยู่เรื่อยๆ
                6.  การสรุปบทเรียน
                ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียนจากการจัดกิจกรรม
                7.  ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
                มีการสนทนา ถาม-ตอบระหว่างครูกับผู้เรียน  นักเรียนให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมเป็นอย่างดี
                8.  จุดเด่นของการสอน
                 สอนไปอย่างช้าๆ เพื่อให้นักเรียนได้เข้าใจอย่างทั่วถึงทุกคน
                9.  จุดที่ควรปรับปรุง
                    - การควบคุมชั้นเรียน
                     - พูดเสียงเบาเกินไป นักเรียนไม่ค่อยได้ยิน
                10.  ข้อเสนอแนะที่มีต่อผู้สอนเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา
                ในขณะสอนควรพูดให้เสียงดังกว่านี้ และอธิบายให้นักเรียนมากกว่านี้ สื่อการสอนสามารถทำให้นักเรียนมีส่วนร่วมและเข้าใจได้มากขึ้น


ครั้งที่ 3
ชื่อผู้สอน  นางสาวญัสมีนีย์  ตาเละ    ชั้น  ป. 2/3
ชื่อหน่วยการเรียนรู้  การลบ     เรื่อง การลบจำนวนนับไม่เกิน 1,000     จำนวน  1  คาบ
วันที่  24   เดือน  กรกฎาคม  ..  2555
ประเด็นที่สังเกต
                1.  การนำเข้าสู่บทเรียน
                นำเข้าสู่บทเรียนโดยการสนทนากับนักเรียนเรื่อง การใช้ชีวิตประจำวัน การใช้เงินเพื่อซื้อสินค้าต่างๆ ในชีวิตประจำวัน
                2.  การดำเนินการสอน
                ให้นักเรียนทำแบบทำสอบก่อนเรียน เรื่องการลบจำนวนนับไม่เกิน 1,000  และสอนเนื้อหาการลบจำนวนนับไม่เกิน 1,000  โดยการยกตัวอย่างประกอบ
                3.  การใช้สื่อการสอน
                     - ไม้ไอติม
                     - ก้อนหิน
4.  การใช้และเขียนกระดานดำ
                เขียนกระดานตัวอักษรตัวใหญ่อ่านง่าย ชัดเจน  แต่ไม่ค่อยตรงบรรทัด มีการแบ่งกระดานออกเป็นส่วนๆ ง่ายต่อการดู
                5.  การใช้ภาษาและคำถาม
                มีการใช้ภาษาที่สุภาพ พูดเสียงดังฟังชัด
                6.  การสรุปบทเรียน
                ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียนจากการจัดกิจกรรม
                7.  ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
                มีการสนทนา ถาม-ตอบระหว่างครูกับผู้เรียน  นักเรียนมีความสนุกสนานในการทำกิจกรรม
                8.  จุดเด่นของการสอน
                 พูดเสียงดังฟังชัด  ควบคุมชั้นเรียนได้เป็นอย่างดี
9.  จุดที่ควรปรับปรุง
                การเขียนกระดานควรเขียนให้ตัวเล็กลงและสม่ำเสมอ
                10.  ข้อเสนอแนะที่มีต่อผู้สอนเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา
                ควรปรับปรุงในเรื่องการเขียนกระดาน
 

ครั้งที่ 4
ชื่อผู้สอน  นางสาวแวรอมือซา  วาเล๊าะ    ชั้น  ป. 4/1
ชื่อหน่วยการเรียนรู้  ข้อมูลและการนำเสนอข้อมูล  เรื่อง  ข้อมูลและการจำแนกข้อมูล  จำนวน  1  คาบ
วันที่  17   เดือน  กันยายน  ..  2555
ประเด็นที่สังเกต
                1.  การนำเข้าสู่บทเรียน
                นำเข้าสู่บทเรียนโดยการให้นักเรียนท่องสูตรคูณ คิดเลขเร็ว และเล่นเกม 24 แล้วสนทนา ถาม – ตอบกับนักเรียน
                2.  การดำเนินการสอน
                อธิบายความหมายของข้อมูล เมื่อเข้าใจความหมาย แล้วให้นักเรียนสำรวจเพื่อนร่วมชั้นเรียนว่าชอบอ่านหนังสือประเภทใดมากที่สุด จากนั้นจึงเก็บรวบรวมข้อมูล และจำแนกข้อมูลตามที่ครูกำหนด
                3.  การใช้สื่อการสอน
                     - ใบงาน
                     - บัตรคำ
4.  การใช้และเขียนกระดานดำ
                เขียนกระดานตัวอักษรสม่ำเสมอ  ไม่เล็กไม่ใหญ่เกินไป  เขียนเป็นระเบียบมีการแบ่งกระดานออกเป็น 4 ส่วน ง่ายต่อการดู
                5.  การใช้ภาษาและคำถาม
                มีการใช้ภาษาที่สุภาพ พูดเสียงดังฟังชัด  มีการใช้คำถามกระตุ้นความคิด
                6.  การสรุปบทเรียน
                ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียนจากการจัดกิจกรรมที่ทำ โดยการถาม ตอบ
                7.  ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
                เมื่อครูถามคำถาม นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการตอบคำถาม และมีความสนใจในกิจกรรมที่ครูจัดให้
                8.  จุดเด่นของการสอน
                 มีการจัดการเรียนการสอนที่ให้นักเรียนมีส่วนร่วม นักเรียนมีความกระตือรือร้นและสนุกกับกิจกรรม
9.  จุดที่ควรปรับปรุง
                การควบคุมชั้นเรียน
                10.  ข้อเสนอแนะที่มีต่อผู้สอนเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา
                ครูควรดูนักเรียนในขณะทำกิจกรรมเพราะนักเรียนบางคนไม่ยอมทำกิจกรรม โดยเฉพาะด้านหลัง



ครั้งที่ 5
ชื่อผู้สอน  นางสาววิลาวรรณ  บุญขวัญ    ชั้น  ป. 3/1
ชื่อหน่วยการเรียนรู้  พลเมืองของชาติ  เรื่อง  บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในชุมชน  จำนวน  1  คาบ
วันที่  21   เดือน  กันยายน  ..  2555
ประเด็นที่สังเกต
                1.  การนำเข้าสู่บทเรียน
                นำเข้าสู่บทเรียนโดยการให้นักเรียนสวดมนต์ และนั่งสมาธิ และสนทนาพูดคุยกับนักเรียนในเรื่องบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในชุมชน
                2.  การดำเนินการสอน
                ให้นักเรียนดูภาพของบุคคลต่างๆ ในชุมชน เช่น พระสงฆ์  ผู้สูงอายุ ครู นักเรียน ฯลฯ แล้วให้ตอบคำถามว่าบุคคลเหล่านี้มีบทบาทหน้าที่อย่างไรบ้าง
                3.  การใช้สื่อการสอน
                     - ใบกิจกรรรม
                     - ภาพของบุคคลต่างๆ
4.  การใช้และเขียนกระดานดำ
                เขียนกระดานอย่างเป็นระเบียบ มีการใช้ปากกาที่มีสีสันหลากหลาย ง่ายต่อการอ่านและจดจำ
                5.  การใช้ภาษาและคำถาม
                พูดเสียงดังฟังชัด  มีการใช้คำถามปลายเปิดเพื่อกระตุ้นความคิด
                6.  การสรุปบทเรียน
                ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียนจากกิจกรรม       
7.  ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
                นักเรียนมีความสนใจ และมีความกระตือรือร้นในการเรียน มีการถาม ตอบระหว่างครูกับผู้เรียน
                8.  จุดเด่นของการสอน
                 มีการยกตัวอย่างบุคคลในชุมชนที่นักเรียนสามารถพบเจอได้ในชีวิตประจำวัน และมีการให้นักเรียนได้ร่วมเล่นเกมต่างๆ
9.  จุดที่ควรปรับปรุง
                การควบคุมชั้นเรียน โดยเฉพาะนักเรียนที่นั่งอยู่ด้านหลัง
                10.  ข้อเสนอแนะที่มีต่อผู้สอนเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา
                ครูควรเดินไปรอบๆห้องเรียนในขณะที่ให้นักเรียนทำใบงาน เพราะนักเรียนบางคนจะคุยกันไม่ยอมทำใบงาน

 

ครั้งที่ 6
ชื่อผู้สอน  นางสาวกัญญารัตน์  ทองคำ     ชั้น  ป. 4EP
ชื่อหน่วยการเรียนรู้  ผักสมุนไพรใบหญ้ามีคุณค่าทั้งนั้น  เรื่อง  แผนที่ความคิด  จำนวน  1  คาบ
วันที่  23   เดือน  กันยายน  ..  2555
ประเด็นที่สังเกต
                1.  การนำเข้าสู่บทเรียน
                นำเข้าสู่บทเรียนโดยการพูดคุยกับนักเรียน ให้นักเรียนมีส่วนร่วมช่วยกันคิดว่ารู้จักสมุนไพรอะไรบ้าง และครูยกตัวอย่างเป็นใบฝรั่ง  เขียนแผนที่ความคิดบอกลักษณะ สรรพคุณและรูปภาพประกอบ
               2.  การดำเนินการสอน
                ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน 1 กลุ่ม  กลุ่มละ 2 คน 3 กลุ่ม  จากนั้นช่วยกันระดมความคิดทำเขียนแผนที่ความคิด แล้วให้นำเขียนแผนที่ความคิดออกมานำเสนอโดยการเลือกตัวแทนกลุ่ม
                3.  การใช้สื่อการสอน
                     - แบบทดสอบก่อนเรียน
                     - แผนที่ความคิด
4.  การใช้และเขียนกระดานดำ
                ใช้กระดานดำในการเขียนแผนที่ความคิด  เขียนกระดานอย่างเป็นระเบียบ ง่ายต่อการอ่านและจดจำ
                5.  การใช้ภาษาและคำถาม
                พูดสุภาพอ่อนโยน ใช้คำถามกระตุ้นความคิด เข้าใจง่าย
                6.  การสรุปบทเรียน
                ให้ตัวแทนนักเรียนออกมานำเสนอผลงาน แล้วครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียนจากการทำกิจกรรม
7.  ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
                มีการถาม ตอบระหว่างครูกับผู้เรียน  นักเรียนมีความกล้าแสดงออกในการนำเสนอผลงาน
                8.  จุดเด่นของการสอน
                     - มีการใช้คำถามกระตุ้นความคิด
                     - มีการเพิ่มทักษะการทำงานกลุ่มให้กับนักเรียน
9.  จุดที่ควรปรับปรุง
                เพิ่มการสอนให้มีความน่าสนใจกว่านี้
                10.  ข้อเสนอแนะที่มีต่อผู้สอนเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา
                ควรสร้างสื่อให้มีความน่าสนใจกว่านี้  และควรควบคุมนักเรียนให้เป็นระเบียบโดยเฉพาะนักเรียนด้านหลัง

 
 
ครั้งที่ 7
ชื่อผู้สอน  นางสาววราภรณ์  สังข์ทอง     ชั้น  ป. 1/3
ชื่อหน่วยการเรียนรู้  ศาสนาของเรา   เรื่อง  ชาวพุทธที่ดี  จำนวน  1  คาบ
วันที่  25   เดือน  กันยายน  ..  2555
ประเด็นที่สังเกต
               1.  การนำเข้าสู่บทเรียน
                นำเข้าสู่บทเรียนโดยการพูดคุยกับนักเรียน แล้วถามนักเรียนว่า  นักเรียนเคยทำความดีอะไรบ้างหรือยังคะ
                2.  การดำเนินการสอน
                ครูให้นักเรียนดูภาพการทำความดีต่างๆ แล้วบรรยายเกี่ยวกับภาพ  แล้วสรุปข้อคิดเห็นให้นักเรียนฟัง  แล้วให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด
                3.  การใช้สื่อการสอน
                     - หนังสือเรียน
                     - แบบฝึกหัด
                     - ภาพการทำความดี
4.  การใช้และเขียนกระดานดำ
                เขียนกระดานตัวอักษรไม่ค่อยสม่ำเสมอ เล็กบ้าง ใหญ่บ้าง
                5.  การใช้ภาษาและคำถาม
                พูดสุภาพ เสียงดังฟังชัด
                6.  การสรุปบทเรียน
                ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียนจากกิจกรรม
7.  ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
                ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนได้มีการสนทนา ถาม-ตอบ และมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม
                8.  จุดเด่นของการสอน
                 มีสื่อการสอนที่ทำให้นักเรียนเข้าใจง่ายขึ้น
9.  จุดที่ควรปรับปรุง
                การควบคุมชั้นเรียน
                10.  ข้อเสนอแนะที่มีต่อผู้สอนเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา
                ควรพัฒนาในเรื่องการเขียนกระดานให้สม่ำเสมอ  และการควบคุมนักเรียนให้ทั่วถึงโดยเฉพาะนักเรียนด้านหลัง
 

ครั้งที่ 8
ชื่อผู้สอน  นางสาวญัสมีนีย์  ตาเละ    ชั้น  ป. 2/3
ชื่อหน่วยการเรียนรู้  การชั่ง   เรื่อง  การเปรียบเทียบน้ำหนัก  จำนวน  1  คาบ
วันที่  25   เดือน  กันยายน  ..  2555
ประเด็นที่สังเกต
                1.  การนำเข้าสู่บทเรียน
                นำเข้าสู่บทเรียนโดยการถามนักเรียน เกี่ยวกับการชั่งน้ำหนักสิ่งของ และการอ่านน้ำหนักเป็นกิโลกรัม กรัม และขีด
                2.  การดำเนินการสอน
                นักเรียนฝึกชั่งน้ำหนักสิ่งของต่างๆ เช่น สมุด หนังสือ กระเป๋า แล้วฝึกอ่านน้ำหนัก
                3.  การใช้สื่อการสอน
                     - เครื่องชั่งสปริง
                     - สิ่งของต่างๆ เช่น สมุด หนังสือ กระเป๋า
                     - แผนภูมิเปรียบเทียบหน่วยน้ำหนัก
                     - แบบฝึกหัด
                     - ใบงาน
 4.  การใช้และเขียนกระดานดำ
                เขียนกระดานตัวอักษรใหญ่  และไม่ค่อยตรงบรรทัด
                5.  การใช้ภาษาและคำถาม
               มีการใช้ภาษาที่สุภาพ พูดเสียงดังฟังชัด และมีการใช้คำถามกระตุ้นความคิดของนักเรียน
                6.  การสรุปบทเรียน
                ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียนจากกิจกรรม
7.  ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน
                นักเรียนมีความสนใจในกิจกรรมที่ครูจัดให้ และมีความสนุกสนานในการชั่งสิ่งของต่างๆ
                8.  จุดเด่นของการสอน
                 มีการเรียนการสอนที่ทำให้นักเรียนเกิดความสนุกสนาน
9.  จุดที่ควรปรับปรุง
                เขียนกระดานตัวอักษรใหญ่  และไม่ค่อยตรงบรรทัด
                10.  ข้อเสนอแนะที่มีต่อผู้สอนเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา
                ควรพัฒนาในเรื่องการเขียนกระดานให้สม่ำเสมอ และไม่ใหญ่เกินไป

 

 

การจัดป้ายนิเทศ
 
 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น